วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2556

การสร้างตาราง

การสร้างตาราง


 1.  คำสั่งหลักที่ใช้ในการสร้างตารางของภาษา HTML  มีดังนี้

 <TABLE>...........</TABLE>   
เป็นคำสั่งที่กำหนดให้โปรแกรมเบราว์เซอร์สร้างตาราง
 <CAPTION>...........</CAPTION>   
เป็นคำสั่งที่ใช้ตั้งชื่อหรือหัวข้อเรื่องให้กับตาราง
 <TR>...........</TR>   
เป็นคำสั่งที่ใช้กำหนดแถว (ROW)
 <TH>...........</TH>   
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดข้อมูลส่วนหัวของตาราง
<TD>...........</TD>   
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดข้อมูลในแต่ละแถว
                    โครงสร้างของตาราง
<TABLE>
            <CAPTION> ชื่อตาราง </CAPTION>
            <TR>
                     <TH> ข้อมูลส่วนหัว </TH>
            </TR>
            <TR>
                     <TD> ข้อมูล </TD>
             </TR>
             <TR>
                     <TD> ข้อมูล </TD>
             </TR>
</TABLE>   
                              ตัวอย่างการสร้างตาราง
                                                           ผลลัพธ์
---------------------------------------------------------------
                        2.  คำสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการตกแต่งตารางของภาษา HTML 
                                  2.1 คำสั่ง BORDER   ใช้กำหนดความหนาให้กับเส้นขอบของตาราง มีหน่วยเป็น Pixel ถ้าไม่ใส่คำสั่งนี้ไว้ด้วย  BORDER  ก็จะมีค่าเท่ากับ 1 ซึ่งเป็นค่าปกตอ คือจะไม่เห็นเส้นขอบของตาราง     
                                   ตัวอย่างการใช้คำสั่ง BORDER
                                                                     ผลลัพธ์
                                   2.2  คำสั่ง ALIGN ใช้กำหนดตำแหน่งการจัดวางตาราง มี 3 รูปแบบ คือ
                                              - LEFT    คือ จัดตารางชิดซ้าย (ค่าปกติ) ของจอภาพ
                                              - RIGHT  คือ จัดตารางชิดขวาของจอภาพ
                                              - CENTER  คือ จัดตารางไว้กึ่งกลางของจอภาพ
                                           ตัวอย่างการสร้างตารางอยู่กึ่งกลางจอภาพ
                                                                     ผลลัพธ์
                                    2.3 คำสั่ง WIDTH ใช้กำหนดความกว้างของตารางทั้งหมด  มีหน่วยเป็น Pixel หรือ เปอร์เซ็นต์ก็ได้
                                    2.4 คำสั่ง HEIGHT  ใช้กำหนดความสูงของตารางทั้งหมด มีหน่วยเป็น Pixel หรือ เปอร์เซ็นต์ก็ได้
                                    2.5 คำสั่ง BGCOLOR    เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดสีพื้นหลังของตารางใช้ได้กับเว็บเบราว์เซอร์ Internet Explorer เท่านั้น
                                        ตัวอย่างการใช้คำสั่ง WIDTH , HEIGHT , BGCOLOR
                                                  ผลลัพธ์

                                2.5 คำสั่ง  CELLSPACING  ใช้กำหนดระยะห่างระหว่างช่องแต่ละช่องในตาราง โดยการเพิ่มขนาดหรือลดขนาดตามความหนาของเส้นขอบตาราง
                                                   ผลลัพธ์
                                2.6 คำสั่ง CELLPADDING  ใช้กำหนดระยะห่างระหว่างบรรทัดของตาราง โดยการเพิ่มขนาดหรือลดขนาดตามความสูงของเส้นขอบตาราง
                                                    ผลลัพธ์

                                2.7 คำสั่ง Colspan และ Rowspan 
                                            คำสั่ง <TD  COLSPAN> เป็นคำสั่งในการรวมคอลัมน์เข้าด้วยกัน ตามค่าของจำนวนคอลัมน์ที่กำหนดไว้
                                    รูปแบบคำสั่ง      <TD  COLSPAN = "Number">                                            ดยที่           - COLSPAN คือ แอตทริบิวต์ที่ใช้ในการกำหนดการรวมคอลัมน์                                                                  - Numberคือ ค่าตัวเลขที่ใช้ในการรวมคอลัมน์เข้าเป็นคอลัมน์เดี่ยวกั
                                            คำสั่ง <TD  ROWSPAN> เป็นคำสั่งในการรวมแถวเข้าด้วยกัน ตามค่าของจำนวนแถวที่กำหนดไว้
                                      รูปแบบคำสั่ง     
<TD  ROWSPAN = "Number">
                                               โดยที่         - ROWSPAN คือ แอตทริบิวต์ที่ใช้ในการกำหนดการรวมแถว                                                                   - Number 
คือ ค่าตัวเลขที่ใช้ในการรวมแถวเข้าเป็นแถวเดียวกัน
                     

                                              ผลลัพธ์

วันเสาร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2556

การแต่งตัวอักษร

การแต่งตัวอักษร

การกำหนดแบบอักษร
 ในเอกสาร HTML ถ้าเราไม่ได้กำหนดแบบตัวอักษร เมื่อแสดงบนบราวเซอร์ จะแสดงตัวอักษรที่เป็น ค่าพื้นฐาน (Default) หากเราต้องการกำหนดแบบตัวอักษรเอกสามารถทำได้โดยใช้ Tag<font>

ตัวอย่างแท็ก

<HTML>

<HEAD>

<TITLE> การกำหนด Font ที่จะใช้ในเว็บเพจ </TITLE>
</HEAD>
<BODY>
   <FONT FACE="AngsanaUPC">
    นี่คือ Font แบบ AngsanaUPC <BR>   </FONT>
   <FONT FACE="JasmineUPC">
   นี่คือ Font แบบ JasmineUPC<BR>
   </FONT>
   <FONT FACE="IrisUPC">
   นี่คือ Font แบบ IrisUPC <BR>
   </FONT>
</BODY>

การแสดงผล
นี่คือ Font แบบ AngsanaUPC

นี่คือ Font แบบ JasmineUPC

นี่คือ Font แบบ IrisUPC 

ขนาดตัวอักษร
  เป็นส่วนของคำสั่งTagที่เป็นตัวกำหนดตัวอักษรให้มีความหนาและขนาดตัวอักษรให้มีความแตกต่าง
จากอักษรปกติกล่าวคือเป็นส่วนที่จะทำให้หัวเรื่องมีความแตกต่างจากอักษรปกติเพราะหัวเรื่องจะต้อง
เป็นส่วนที่มีจุดเด่นมากที่สุดซึ่งคำสั่ง<Hx>จะมีขนาดของตัวอักษร อยู่ 6 ขนาด ตือ ขนาดใหญ่สุด
คือ <H1>( ใช้มาก )และเล็กที่สุดคือ<H6> (ใช้น้อย )

รูปแบบคำสั่ง
<Hx>........<Hx> โดยที่ x คือค่าตัวเลขตั่งแต่ 1 ถึง 6
ตัวอย่างแท็ก
<HTML>
<HEAD>
<TITLE> การกำหนดหัวเรื่อง</TITLE>
</HEAD>
<BODY> <H1> การกำหนดหัวเรื่องH1 < /H1>
<H2> การกำหนดหัวเรื่องH2< /H2 >
<H3> การกำหนดหัวเรื่องH3</H3>
<H4> การกำหนดหัวเรื่องH4</H4>
<H5> การกำหนดหัวเรื่องH5</H5>
<H6> การกำหนดหัวเรื่องH6</H6> นี่คือตัวอักษรปกติ
</BODY>
</HTML>

การแสดงผล


การกำหนดหัวเรื่องH1

การกำหนดหัวเรื่องH2

การกำหนดหัวเรื่องH3

การกำหนดหัวเรื่องH4

การกำหนดหัวเรื่องH5
การกำหนดหัวเรื่องH6
นี่คือตัวอักษรปกติ

สีตัวอักษรทั้ง2แบบ

   สีของตัวอักษร สามารถกำหนดได้ 2 แนวทางคือ
1.การกำหนดสีของตัวอักษร 
     เป็นคำสั่งที่ใช้กำหนดสีของตัวอักษรให้มีสีต่างๆตามต้องการโดยการกำหนดเลขฐาน16
รูปแบบคำสั่ง
<BODY TEXT="#เลขฐาน16 จำนวน 6 ตัว">......</BODY> 

2.การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
      เป็นคำสั่งที่ใช้กำหนดสีของตัวอักษรให้มีสีต่างๆเฉพาะส่วนตามต้องการโดยการกำหนดเลขฐาน16
รูปแบบคำสั่ง

< FONT COLOR="#เลขฐาน16 จำนวน 6 ตัว">......</FONT>

ตัวอย่างแท็ก
1.การกำหนดสีของตัวอักษร
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดสีของตัวอักษร</TITLE>
</HEAD>
<BODY TEXT="#00ff00">
กำหนดตัวอักษร เป็นสีเขียว
</BODY>
</HTML>

การแสดงผล

กำหนดตัวอักษร เป็นสีเขียว

2.การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน </TITLE >
</HEAD>
<BODY>
ทดสอบ < FONT COLOR="#FF0000"> กำหนดตัวอักษรเฉพาะส่วน เป็นสีแดง</FONT>โดยคำสั่ง FONTCOLOR
< /BODY >
< /HTML >

การแสดงผล

ทดสอบกำหนดตัวอักษรเฉพาะส่วน เป็นสีแดง โดยคำสั่ง FONTCOLOR

ตัวเอียง  ตัวหนา  ขีดเส้นใต้

การกำหนดรูปแบบตัวอักษรให้เป็น ตัวอักษรเอียง<I>,ตัวอักษรหนา<B>,และตัวอักษรมีเส้น<U>
รูปแบบคำสั่ง

<B>......</B>

<I>......</I>

<U>......</U>

ตัวอย่างแท็ก
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดรูปแบบตัวอักษร</TITLE>
</HEAD >
<BODY >
<B>ตัวอักษรหนา</B><Br>
<I>ตัวอักษรเอียง</I><Br>
<U>ตัวอักษรมีเส้น</U><Br>
<B><I><U>การใช้คำสั่งทั้ง 3 แบบพร้อมกัน</U></I></B><Br>
</BODY>
</HTML>

การแสดงผล

ตัวอักษรหนา
ตัวอักษรเอียง
ตัวอักษรมีเส้น
การใช้คำสั่งทั้ง 3 แบบพร้อมกัน

ตัวขีดฆ่า  ตัวยก  ตัวห้อย
1.<S> ตัวขีดฆ่า</S>
2.<SUP> ตัวอักษรยกขึ้น</SUP>
3.<SUB> ตัวอักษรห้อยลง</SUB>


ตัวอย่างแท็ก

<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดรูปแบบตัวอักษร</TITLE>
</HEAD >
<BODY > 
<S> ตัวขีดฆ่า</S>
<SUP> ตัวอักษรยกขึ้น</SUP>
<SUB> ตัวอักษรห้อยลง</SUB>
</BODY>
</HTML>

การแสดงผล

ตัวขีดฆ่า
ตัวอักษรยกขึ้น
ตัวอักษรห้อยลง

ตัวอักษรวิ่ง 
<MARQUEE direction="ทิศทางการวิ่ง" width="ความกว้าง"   height="ความสูง"
 scrollamount=ความเร็วในการวิ่ง  scrolldelay="เวลาหน่วง">ข้อความ</MARQUEE>

ทิศทางการวิ่ง
UP        วิ่งจากด้านล่างขึ้นด้านบน
DOWN  วิ่งจากด้านบนลงด้านล่าง
LEFT      วิ่งจากด้านขวาไปด้านซ้าย
RIGHT    วิ่งจากด้านซ้ายไปด้านขวา

ตัวอย่างแท็ก

<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การทำตัวอักษรวิ่ง</TITLE>
</HEAD>
<BODY>
      <marquee><font size=4 color="red">ราชธานีเก่า เมืองอู่ข้าว อู่น้ำ เลิศล้ำกานต์์กวี คนดีศรีอยุธยา </marquee>
</BODY>
</HTML>

การแสดงผล

ราชธานีเก่า เมืองอู่ข้าว อู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา

  ตัวอักษรกระพริบ
   <BLINK></BLINK>

ตัวอย่างแท็ก
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>การกำหนดตัวอักษรกระพริบ</TITLE>
</HEAD>
<BODY> <BLINK>welcome</BLINK>
</BODY>
</HTML>

การแสดงผล


การจัดตำแหน่งข้อความ

1. การกำหนดให้อยู่ตำแหน่งกึ่งกลางด้วยแท็ก Center  <center> ...ข้อความ...</center>

2. การกำหนดตำแหน่งโดยใช้ Attribute ของแท็ก <p> โดยใช้ Attribute align รูปแบบดังนี้

 <p align = "ตำแหน่ง"> ...ข้อความ...</p> ตำแหน่งที่สามารถระบุได้ คือ left center หรือ right


ตัวอย่างแท็ก

html>
<head>
<title>เว็บไทยดีดี :: webthaidd</title>
</head>
<body>
<p align=left>ข้อความอยู่ทางซ้าย</p>
<p align=center>ข้อความอยู่ตรงกลาง</p>
<p align=right>ข้อความอยู่ทางขวา</p>
</body>
</html>

การแสดงผล




8/9/56

การแทรกรูปภาพ

 การแทรกรูปภาพ


ตามปกติภาพที่จะใช้แสดงในเว็บเพจ นิยมใช้ภาพที่มีชื่อสกุลของภาพเป็น .JPG หรือ .GIF เพราะเป็นไฟล์ภาพที่มีขนาดเล็ก สามารถแสดงผลได้รวดเร็ว จึงไม่ต้องเสียเวลาในการรอให้ภาพปรากฏนานเกินไป
 1. ในกรณีที่ไฟล์รูปภาพอยู่ที่เดียวกับเว็บเพจ
Code : <IMG SRC = "ชื่อไฟล์รูปภาพ . นามสกุลไฟล์รูปภาพ">
code  คือ

ผลที่แสดงได้


2.ในกรณีที่ไฟล์รูปภาพอยู่คนละที่กับเว็บ
Code : <IMG SRC = "แฟ้มที่อยู่ของไฟล์รูปภาพ /ชื่อไฟล์ภาพที่เราต้องการแสดง.นามสกุลของภาพ">
code  คือ

ผลที่แสดงได้

การปรับขนาดของภาพ

ในการแทรกภาพเข้าสู่เอกสาร html นั้นขนาดของภาพอาจไม่ตรงตามที่เราต้องการ ซึ่ง html มีคำสั่งสำหรับปรับขนาดภาพโดยนำ width="" height="100" ไปต่อท้ายชื่อภาพภายในคำสั่งแสดงภาพ แล้วปรับขนาดภาพตามต้องการ  ดังตัวอย่าง
<img src="ที่จัดเก็บภาพ\ชื่อภาพ.JPG" width="250" height="350"/>
code  คือ

ผลที่แสดงได้

<img src="ที่จัดเก็บภาพ\ชื่อภาพ.JPG" width="700" height="500"/>
code  คือ
ผลที่แสดงได้

(1) ALIGN=LEFT กำหนดให้รูปภาพอยู่ทางด้านซ้ายของข้อความ
 <LEFT><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></LEFT>
code  คือ

ผลที่แสดงได้

(2) ALIGN=RIGHT กำหนดให้รูปภาพอยู่กึ่งกลางของข้อความ
<CENTER><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></CENTER>
code  คือ

ผลที่แสดงได้

3.ALIGN=RIGHT กำหนดให้รูปภาพอยู่ทางด้านขวาของข้อความ
<P ALIGN =RIGHT><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></ RIGHT>
code  คือ

ผลที่แสดงได้


ขอขอบคุณแหล่งค้นคว้ามากที่สุดดดดด